สาเกญี่ปุ่น

จังหวัดเฮียวโงะ・เมืองโกเบะ

คิโมโทะ ทสึคุริ จุนไมไดกินโจ เกนชุ ซูอิโจว

きもとづくりじゅんまいだいぎんじょうげんしゅ ずいちょう / Kimoto zukuri Junmai Daiginjo Genshu Zuicho

เหล้าจุนไม
ไดกินโจ

ใช้ข้าว Yamadanishiki 100% ที่ผลิตในจังหวัดเฮียวโกะ กับน้ำ Nadanomiyamizu น้ำใต้ดินจากภูเขา โรกโก Rokko ที่เป็นน้ำ 1ใน100ที่สวยงามในประเทศญี่ปุ่น หมักด้วยกรรมวิธีKimoto Zukuri จนเป็นจุนไมไดกินโจ ที่มีรสของกินโจ รสชาติร้อนแรง เข้มข้น กับกลิ่นหอมหวานละมุน ที่สามารถดื่มพร้อมกับมื้ออาหาร สมกับเจ้าของรางวัลเหรียญทองชนะเลิศปี 2018 จากงาน "Monde selection"

โรงกลั่นสาเก
沢の鶴 株式会社
- Sawanotsuru Co.,Ltd -

รสชาติและกลิ่น

รสอ่อน ออกหวาน

- 0 +

+3

หวาน แรง/แห้ง

รสสัมผัสที่เข้มข้น

- 0 +

+1

รสอ่อน/ไลต์บอดี้ รสเข้มข้น/ฟูลบอดี้

กลิ่นหอม

- 0 +

+3

รสอ่อน ครบรสลงตัว

การเสิร์ฟอุณหภูมิที่เหมาะสม

สาเกแบบเย็น

อุณหภูมิห้อง

สาเกแบบร้อน

แก้วสาเก

มีกลิ่นหอม
แนะนำแก้วไวน์ที่มีปากแก้วกว้าง

อาหารที่คู่กับสาเก

ส่วนใหญ่เหมาะกับอาหารที่ไม่มีส่วนผสมของเครื่องปรุงมากนัก เพราะจะได้รู้สึกถึงรสของวัตถุดิบได้อย่างเต็มที่ ยกตัวอย่างเช่น อาหารยุโรป เช่น สลัดอะโวคาโดกับกุ้งใส่ซอสผลไม้, และต้มหน่อไม้ฝรั่งขาว
อาหารญี่ปุ่น อย่าง หอยนางรมสดซอสมะนาว, กุ้งนำมาบดและต้ม, ปลาอะยุย่างใส่ซอสน้ำส้มเปรี้ยว และหอยฮามากุรินึ่งเหล้าสาเก
และอาหารจีน เช่น ฟักเขียวราดหน้าเนื้อปู, สลัดไก่นึ่งแบบจีน และผัดผัก

ข้อมูลของสาเก

รายชื่อจังหวัด จังหวัดเฮียวโงะ
เมืองตำบลและหมู่บ้าน เมืองโกเบะ
ประเภทของสาเก เหล้าจุนไม
ไดกินโจ
ส่วนผสมและวัตถุดิบ ข้าวมอลต์กล้าเชื้อ・โคจิ
ข้าวที่นำมาใช้หมักทำเหล้าสาเก ยามาดะ นิชิกิ
(山田錦)
ที่มาของข้าวสาเก จังหวัดเฮียวโงะ
น้ำต้มหรือกลั่น น้ำใต้ดินน้ำนะดะมิยะจากภูเขารอคโคะซัง (น้ำกระด้างระดับกลาง)
การขัดสีข้าว 47%
ปริมาณแอลกอฮอล์โดยปริมาตร 17%
ค่าวัดสาเก +3.0
รสชาติ เผ็ดนิด

ประเภทเหล้าสาเก

ข้าวที่ถูกนำมาสี
จนเหลือเนื้อข้าว ไม่เกิน 50%

ข้าวที่ถูกนำมาสี
จนเหลือเนื้อข้าว ไม่เกิน 60%

ข้าวที่ถูกนำมาสี
จนเหลือเนื้อข้าว ไม่เกิน 70%

ข้าวที่ถูกนำมาสี
จนเหลือเนื้อข้าว ไม่เกิน 80%

เหล้าจุนไม
ไดกินโจ

เหล้าจุนไมกินโจ

เหล้าจุนไมพิเศษ

เหล้าจุนไม

เหล้าไดกินโจ

เหล้ากินโจ

เหล้าฮนโจโซพิเศษ

เหล้าฮนโจโซ

เหล้าธรรมดา

Top