สาเกญี่ปุ่น

จังหวัดเกียวโต・เมืองเกียวโต

ฮานาโชวฟู ไดกินโจ คิซากุระ

はなしょうふうだいぎんじょう きざくら / Hanasyoufu Daiginjyou Kizakura

เหล้าไดกินโจ

Yamadanishiki ข้าวหมักเหล้าสาเกชั้นดีที่ใช้เวลาขัดสีอย่างพิถีพิถันสามวันสามคืนเต็มจนเป็นข้าวขัดสี 35% แล้วนำไปนึ่งแบบควบคุมเวลาอย่างเข้มงวด โดจิ (ผู้ที่ดูแลการหมักเหล้าสาเก) อดหลับอดนอน 2 คืนเต็มเพื่อทำ โคจิ และใช้ยีสต์กินโจ สูตรเฉพาะของ Kizakura หมักด้วยอุณหภูมิต่ำกว่า10 องศาเป็นเวลา 30 วัน พิถีพิถันอย่างดีจนมาเป็นไดกินโจ มีจุดเด่นคือ กลิ่นหอมหวานราวกับดอกไม้ และรสชาตินุ่มลื่น

โรงกลั่นสาเก
黄桜 株式会社
- Kizakura -

รสชาติและกลิ่น

รสอ่อน ออกหวาน

- 0 +

-3

หวาน แรง/แห้ง

รสสัมผัสที่เข้มข้น

- 0 +

+3

รสอ่อน/ไลต์บอดี้ รสเข้มข้น/ฟูลบอดี้

กลิ่นหอม

- 0 +

+5

รสอ่อน ครบรสลงตัว

การเสิร์ฟอุณหภูมิที่เหมาะสม

สาเกแบบเย็น

อุณหภูมิห้อง

สาเกแบบร้อน

แก้วสาเก

มีกลิ่นหอม
แนะนำแก้วไวน์ที่มีปากแก้วกว้าง

อาหารที่คู่กับสาเก

เพราะมีกลิ่นหอมและรสชาติเข้มข้น จึงเหมะกับทั้งอาหารที่ไม่ใส่เครื่องปรุงมากนัก ซึ่งรู้สึกถึงรสธรรมชาติของอาหารนั้น จนถึงอาหารรสเข้มข้นด้วย เช่น ซาซิมิปลาเนื้อขาว, คาร์ป๊าชโช่, สลัดผักราดดาชิ, ปลาย่างเกลื่อ, ผลโอลิฟว์ และ
ต้นอ่อนทะระ เป็นต้น เหมาะกับอาหารเรียกน้ำย่อย

ข้อมูลของสาเก

รายชื่อจังหวัด จังหวัดเกียวโต
เมืองตำบลและหมู่บ้าน เมืองเกียวโต
ประเภทของสาเก เหล้าไดกินโจ
ส่วนผสมและวัตถุดิบ ข้าวมอลต์・โคจิ・เหล้าต้มหรือกลั่น
ข้าวที่นำมาใช้หมักทำเหล้าสาเก ยามาดะ นิชิกิ
(山田錦)
ที่มาของข้าวสาเก จังหวัดเฮียวโงะ และที่อื่นๆ
น้ำต้มหรือกลั่น น้ำใต้ดิน (น้ำกระด้างระดับกลาง)
การขัดสีข้าว 35%
ปริมาณแอลกอฮอล์โดยปริมาตร 16%
ค่าวัดสาเก ±0
รสชาติ หวานนิด

ประเภทเหล้าสาเก

ข้าวที่ถูกนำมาสี
จนเหลือเนื้อข้าว ไม่เกิน 50%

ข้าวที่ถูกนำมาสี
จนเหลือเนื้อข้าว ไม่เกิน 60%

ข้าวที่ถูกนำมาสี
จนเหลือเนื้อข้าว ไม่เกิน 70%

ข้าวที่ถูกนำมาสี
จนเหลือเนื้อข้าว ไม่เกิน 80%

เหล้าจุนไม
ไดกินโจ

เหล้าจุนไมกินโจ

เหล้าจุนไมพิเศษ

เหล้าจุนไม

เหล้าไดกินโจ

เหล้ากินโจ

เหล้าฮนโจโซพิเศษ

เหล้าฮนโจโซ

เหล้าธรรมดา

Top